Awareness : ขั้นตอนการ สร้างการรับรู้ การตระหนักถึง การสร้างการรับรู้ ให้กลุ่มเป้าหมายของคุณ รับรู้ตระหนักถึงการมีอยู่ของสินค้า หรือแบรนด์ของคุณ ของสินค้าหรือบริการ ผ่านทางการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ซึ่งคือ ทีวี วิทยุ สิ่งพิมพ์ ข่าว การเปิดตีวอีเวนต์ และอื่นๆ
นอกจากนั้นการรับรู้ของคนเรามีสื่อใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น Social Media Advertising, Online Video, Display Ad หรือแม้กระทั่งจะเห็นจาก Content Marketing หรือการแชร์ต่อมาจากเพื่อนของเราใน Social Media
Involvement : การมีส่วนร่วมต่อการรับรู้ หรือการสื่อสารทางการตลาด ด้วยการที่ดิจิทัลได้มอบอำนาจในการมีส่วนร่วมให้กับลูกค้าที่มีต่อการสื่อสาร หรือการสร้างความสัมพันธ์ของลูกค้าเพิ่มมากไม่ว่าจะเป็น ชอบกดไลค์ อยากบอกต่อก็กดแชร์ หรือสามารถ Subscribe เพื่อติดตามต่อ นี่รวมไปถึงการคลิกอ่านต่อ การ Search ข้อมูลเดี๋ยวนั้น หรือ Bookmark เพื่อเก็บไว้อ่านต่อ
Active Consideration : จากเดิมที่เราเทียบสินค้าจากแหล่งไม่กี่แหล่ง ทุกวันนี้เราสามารถดูเรตติ้่ง ดูรีวิว เทียบสินค้าได้จากเว็บเปรียบเทียบราคา หรือแม้กระทั่งเปรียบเทียบสินค้าเดียวกันกับผู้ขายคนอื่นได้เลยทีเดียว
Consumption : วันนี้ในการใช้บริการ หรือใช้สินค้า เราอาจจะสามารถสร้างประสบการณ์ร่วมที่เหนือกว่าได้ด้วยดิจิทัลเทคโนโลยี เช่น การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality ในการรับชมภาพยนตร์ที่เราเพิ่งซื้อมาใหม่ หรือการใช้งานสมาร์ททีวี ที่ปัจจุบัน Sync กับ internet และ Devices อื่นๆ ในบ้านแล้ว
Relationship Building : จาก Loyalty Card หรือ การทำ Direct Marketing แบบสมัยเก่า เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวได้ ด้วยระบบการจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารตรงกับลูกค้าแต่ละคนผ่านช่องทางใหม่ๆ เช่น LINE, facebook, Fanpage, E-Services, Application และอื่นๆ อีกมากมาย อีกทั้งเราสามารถนำข้อมูลของลูกค้าประจำมาออกแบบโปรแกรมเพื่อรักษาความสัมพันธ์ต่อเนื่องได้อย่างถูกใจและตรงใจมากขึ้น
Advocacy : การแนะนำ บอกต่อ : สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งในโลกที่ Social Media และ Online Community เข้ามามีอิทธิพลอย่างสูง คือการบอกต่อถึงประสบการณ์กับสินค้าหรือบริการโดยตรง เช่น การให้รีวิว การเรตสินค้าที่ Application ต่างๆ หรือแม้กระทั่งการตั้งกระทู้ต่อว่าในพันทิป สำหรับเจ้าของสินค้าเองก็ต้องจับตาดูและมีการบริหารจุดนี้อย่างดี
Brand Advocacy หมายถึงผู้สนับสนุนแบรนด์ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคนธรรมดาและคนมีชื่อเสียง ที่มีความสนใจในแบรนด์หรือสินค้านั้นๆ ต่อให้แบรนด์ไม่จ้าง พวกเขาก็เป็นแฟนพันธุ์แท้ที่พร้อมช่วยโปรโมตสินค้าหรือบริการเป็นประจำอยู่แล้ว
ข้อดีของ Brand Advocacy ที่เห็นได้ชัดเจนคือไม่ต้องใช้เงินมากเมื่อเทียบกับ influencers แต่อาจใช้วิธีส่งสินค้าหรือบริการให้ใช้ รวมถึงอาจเชิญมาร่วมงานอีเวนท์ ออกทริป ทำกิจกรรม แจกรางวัล ร่วมกับแบรนด์สินค้า เหล่านี้จะช่วยสร้างคอมมูนิตี้และ Loyalty ให้กับผู้ที่กำลังติดตาม Brand Advocacy บนแพลตฟอร์ม Social media ได้อย่างดี
ส่วนใหญ่แม้ว่า Brand Advocacy จะมีจำนวนผู้ติดตามน้อยกว่า Influencer แต่พวกเขามีจุดแข็งคือความจริงใจในการสื่อสารข้อมูลไปสู่กลุ่มคนที่ชอบสินค้าหรือบริการแบบเดียวกัน ทำให้ข้อความที่ส่งออกไปมีคุณภาพ ซึ่งมีผลสำรวจยืนยันว่าผู้บริโภคจะเชื่อข้อมูลของกลุ่ม Brand Advocacy มากกว่า Influencer
สำหรับกลยุทธ์ที่มาแรงตอนนี้คือหลายแบรนด์สินค้าเลือกใช้จ่ายเงินกับ Brand Advocacy หลายๆคน มากกว่าจะทุ่มเงินไปที่ Influencer คนเดียว หรือ อีกวิธีคือการปั้น Brand Advocacy ขึ้นมาเองซะเลย
advocate = สนับสนุน
Consideration : เมื่อเกิดการรับรู้สินค้าแล้วจึงนำสินค้ามาพิจารณาเปรียบเทียบกับตัวเลือกที่อยู่ในมือ หรือพิจารณาความเหมาะสมทางด้านสิ่งที่ได้รับ + สิ่งที่จ่าย
Purchase : ขั้นตอนการซื้อสินค้า โดยอาจจะมีการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงตัวเลือก ณ จุดขาย หากพบความยุ่งยากในการซื้อ หรือ ข้อเสนอที่ดีกว่า ณ จุดขาย เช่น โปรโมชั่น สินค้าไม่มีสต็อก หรือเจอสินค้าใหม่ที่ดีกว่า
Purchase : ช่วงเวลาการซื้อที่สามารถทำได้หลากหลายช่องทางมากขึ้นเช่น e-commerce, M-Commerce และการจ่ายเงินที่เปลี่ยนแปลงไปเช่น Cashless payment, Mobile Payment, Virtual Currency หรือแม้กระทั่งสิ่งใหม่มาแรงอย่าง Bitcoin
Loyalty Building : สร้างการซื้อซ้ำ ด้วย Loyalty Campaign ต่างๆ เช่น Club Card, Loyalty Card หรือ การทำ Direct Marketing เช่นการขอฐานข้อมูลเพื่อส่งเอกสาร โบรชัวร์ไปที่ที่อยู่ที่ให้ไว้ หรือโทรศัพท์ไปหาเพื่อนำเสนอสินค้าใหม่ๆ
Engagement คือการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า หรือกลุ่มเป้าหมาย อาจเป็นการสร้างเรื่องราว หรือบทความที่ดี และมีประโยชน์ให้กับกลุ่มลูกค้า เพื่อทำให้เกิดการติดตาม กดไลค์ กดแชร์ เพื่อทำให้กลุ่มลูกค้านั้นรู้สึกผูกพันกับแบรนด์ของคุณ
Reach คือจำนวนที่คนที่เข้าถึงสื่อทางการตลาดของคุณ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรม รูปภาพ วิดีโอ หรือข้อความต่างๆ
Impression ความประทับใจที่มีต่อสื่อทางการตลาด โดยแสดงผลเป็นจำนวนครั้งที่มีการแสดงผลขึ้นมา โดยที่ไม่คำนึงการปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มลูกค้าหรือไม่ สามารถพบเห็นได้บ่อยๆ จากการแชร์ หรือการแท็ก
Conversion คือการตอบสนองของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อสื่อทางการตลาด ไม่ว่าจะเป็น การตอบรับโดยการกล่าวถึง การเข้าร่วม การสมัครสมาชิก การสั่งซื้อ หรือกดปุ่มรับข้อมูลข่าวสาร ก็ได้ทั้งนั้น
Viral หรือ Viral Marketing เรียกแบบไทยๆ ก็คือการทำการตลาดแบบไวรัส โดยอาศัยหลักการเสนอความแปลกใหม่ ความแตกต่างที่โดนใจ ให้แก่กลุ่มลูกค้า เพื่อให้เกิดการส่งต่อที่รวดเร็ว ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่างๆ
Content Marketing หรือก็คือการทำการตลาดโดยใช้เนื้อหา หรือบทความ ที่ดี มีประโยชน์ต่อกลุ่มลูกค้า บางครั้งการนำเสนอเนื้อหาก็ไม่ได้ทำขึ้นเพื่อขายสินค้าเพียงอย่างเดียว แต่อาจจะเป็นการสร้างเนื้อหา เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกิจการของตนเอง หรือการเขียนบทความที่กำลังเป็นกระแส เป็นที่นิยม เพื่อตอบสนองความต้องการให้แก่กลุ่มลูกค้า ที่อาจจะได้ผลดีกว่าการโฆษณาทางตรงด้วยซ้ำ
Keyword หรือคำสำคัญในการค้นหาผ่านกูเกิล และเป็นคำที่คุณสามารถกำหนดขึ้นมาได้ เพื่อให้บทความ หรือเว็บไซต์ของคุณถูกนั้นถูกค้นพบได้ง่าย
SEO (Search engine optimization) คือการทำให้เว็บไซต์ของคุณ ติดอับดับต้นๆ ของการค้นหาผ่าน เสิร์ชเอ็นจิ้น ด้วยคีย์เวิร์ด ที่คุณได้ใส่ลงไปในเว็บไซต์ หรือบทความของคุณ
SEM (Search Engine Marketing) คือการทำการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหาบนอินเทอร์เน็ต
Google Adword เครื่องมือสำหรับการทำโฆษณาบนกูเกิล ให้เว็บไซต์ของคุณอยู่ด้านบนสุดของการค้นหาบนกูเกิล โดยค่าบริการจะคิดก็ต่อเมื่อมีคนคลิกเข้าชมเว็บไซต์ของคุณเท่านั้น
Google Analytic เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือของกูเกิล ที่ใช้สำหรับการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ภายในเว็บไซต์ของคุณ โดยสามารถดูว่ามีคนเข้าชมเว็บไซต์ของคุณเป็นจำนวนเท่าไหร่ มาจากช่องทางไหนบ้าง ระยะเวลาที่อยู่บนเว็บไซต์ของคุณนานเท่าไหร่ ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาธุรกิจของคุณเป็นอย่างมาก
Google Adsense เป็นเครื่องสำหรับกระจายสื่อโฆษณาของกูเกิล ไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสสำหรับการสร้างรายได้ โดยการนำโฆษณาจากกูเกิล มาใส่ไว้ในเว็บของคุณ เมื่อมีคนคลิกที่โฆษณาที่คุณนำมาไวในเว็บ คุณก็จะได้รับเงินในส่วนนั้น
Immersive Experience คือการสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้กับกลุ่มลูกค้าเพื่อให้เกิดความสนใจ และจินตนาการต่อยอดออกไปอย่างไม่มีขีดจำกัด ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความตื่นเต้นโดยการใช้สิ่งเร้าต่อระบบประสาทสัมผัสทั้งหกของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และความรู้สึก ให้แก่กลุ่มลูกค้า
ROI (Return on Investmen) คือวิธีการคำนวณค่าตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งให้ค่าการประเมินตรวจสอบที่มีความเที่ยงตรง และทรงประสิทธิภาพมาก โดยสามารถทำได้หลายวิธีการ
SoLoMo (Social Location Mobile) เป็นกลยุทธ์หนึ่งของการตลาดที่วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคโดยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ จากการใช้โซเชียลมีเดีย เช็กอินตามสถานที่ต่างๆ ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
Second Screen คือแนวคิดการใช้ประสบการณ์จากจอที่สอง หรือก็คือการใช้แอพพริเคชั่นในการสร้างความรู้สึกใหม่ในการดูโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ เพื่อการดึงความสนใจของกลุ่มลูกค้าให้กลับมาอยู่ในรายการที่รับชมอยู่ แทนการทำกิจกรรมเสริมอื่นๆ
Earned Media คือการกล่าวถึงสินค้า แบรนด์ หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของคุณ บนสื่อโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นไลน์ ทวิสเตอร์ เฟสบุ๊ค การตอบข้อความบน กระทู้ บทความ หรือสื่อต่างๆ ที่คุณได้ลงไป
Value Proposition คือคุณค่าที่นำเสนอต่อลูกค้า ซึ่งทางการตลาดหมายถึงคุณค่าของสินค้า และบริการที่เราได้ขายให้กับลูกค้า
Contextual Targeting คือการทำโฆษณาในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือก็คือหากคุณขายตุ๊กตา กูเกิลจะทำให้โฆษณาของคุณ ไปอยู่บนเว็บที่ขายตุ๊กตาเหมือนกัน
Big Data คือข้อมูลทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในบริษัทของคุณ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่มีแหล่งที่มาจากบริษัท หรือข้อมูลที่มาจากภายนอกอย่างโซเชียลมีเดีย โดยจะเรียกข้อมูลเหล่านี้ว่าข้อมูลดิบ
Ideation คือแนวความคิด ความคิด ที่สามารถปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ได้
Social Commerce คือเครือข่ายสังคมค้าขายออนไลน์ เป็นส่วนหนึ่งของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบอีคอมเมิร์ช โดยวิธีการคือการใช้โซเชียลมีเดีย เข้ามายกระดับการทำธุรกิจค้าขายบนโลกออนไลน์ ให้ดีกว่าเดิม ให้สะดวกกว่าเดิม
KPI (Key Performance Indicator) คือดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน โดยจะแสดงรายละเอียดของงานที่สำเร็จ หรือไม่สำเร็จออกมา โดย KPI เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
Native Advertising คือการทำโฆษณา แบบไม่ให้ผู้เข้าชมรู้สึกตัวว่านี้คือการโฆษณา ไม่ได้ตั้งใจขายของมากเกินไป เมื่อดูจบ หรืออ่านจบถึงจะรู้สึกว่านี้คือโฆษณา
Advertainment การทำโฆษณาโดยแฝงไปกับความบันเทิง ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันและกัน ของธุรกิจบันเทิง กับโฆษณา ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก
Synergy คือการทำงานร่วมกันของกลุ่ม องค์กร หรือธุรกิจ ที่จะสร้างผลประโยชน์ให้แก่กันมากกว่าการทำงานแยกกัน
Growth Hacking คือการหาเทคนิคใหม่ๆ มาทำให้ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งอยู่ในรูปแบบของการคิดวิเคราะห์ หาวิธีการที่สร้างสรรค์ แปลกใหม่ เพื่อทำให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
Showrooming คือพฤติกรรมการเลือกชมสินค้าหน้าร้าน แต่จะไปซื้อผ่านช่องทางออนไลน์
Infographic (Information Graphic) คือภาพกราฟฟิกที่บ่งบอกถึงข้อมูล อาจจะเป็นสถิติ เกร็ดความรู้ หรือเรียกได้ว่าคือข้อมูลอย่างย่อเพื่อทำให้เกิดความเข้าใจที่ง่าย เพียงแค่กวาดตามอง
ศัพท์เทคนิคการตลาดโลกโซเชียล – Facebook http://lertad.com/a2z/social-media-marketing-terms-part-1-facebook/
คำศัพท์ Marketing & Sales
Involvement : การมีส่วนร่วมต่อการรับรู้ หรือการสื่อสารทางการตลาด ด้วยการที่ดิจิทัลได้มอบอำนาจในการมีส่วนร่วมให้กับลูกค้าที่มีต่อการสื่อสาร หรือการสร้างความสัมพันธ์ของลูกค้าเพิ่มมากไม่ว่าจะเป็น ชอบกดไลค์ อยากบอกต่อก็กดแชร์ หรือสามารถ Subscribe เพื่อติดตามต่อ นี่รวมไปถึงการคลิกอ่านต่อ การ Search ข้อมูลเดี๋ยวนั้น หรือ Bookmark เพื่อเก็บไว้อ่านต่อ
Active Consideration : จากเดิมที่เราเทียบสินค้าจากแหล่งไม่กี่แหล่ง ทุกวันนี้เราสามารถดูเรตติ้่ง ดูรีวิว เทียบสินค้าได้จากเว็บเปรียบเทียบราคา หรือแม้กระทั่งเปรียบเทียบสินค้าเดียวกันกับผู้ขายคนอื่นได้เลยทีเดียว
Consumption : วันนี้ในการใช้บริการ หรือใช้สินค้า เราอาจจะสามารถสร้างประสบการณ์ร่วมที่เหนือกว่าได้ด้วยดิจิทัลเทคโนโลยี เช่น การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality ในการรับชมภาพยนตร์ที่เราเพิ่งซื้อมาใหม่ หรือการใช้งานสมาร์ททีวี ที่ปัจจุบัน Sync กับ internet และ Devices อื่นๆ ในบ้านแล้ว
Relationship Building : จาก Loyalty Card หรือ การทำ Direct Marketing แบบสมัยเก่า เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวได้ ด้วยระบบการจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารตรงกับลูกค้าแต่ละคนผ่านช่องทางใหม่ๆ เช่น LINE, facebook, Fanpage, E-Services, Application และอื่นๆ อีกมากมาย อีกทั้งเราสามารถนำข้อมูลของลูกค้าประจำมาออกแบบโปรแกรมเพื่อรักษาความสัมพันธ์ต่อเนื่องได้อย่างถูกใจและตรงใจมากขึ้น
Advocacy : การแนะนำ บอกต่อ : สิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งในโลกที่ Social Media และ Online Community เข้ามามีอิทธิพลอย่างสูง คือการบอกต่อถึงประสบการณ์กับสินค้าหรือบริการโดยตรง เช่น การให้รีวิว การเรตสินค้าที่ Application ต่างๆ หรือแม้กระทั่งการตั้งกระทู้ต่อว่าในพันทิป สำหรับเจ้าของสินค้าเองก็ต้องจับตาดูและมีการบริหารจุดนี้อย่างดี
Brand Advocacy หมายถึงผู้สนับสนุนแบรนด์ ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคนธรรมดาและคนมีชื่อเสียง ที่มีความสนใจในแบรนด์หรือสินค้านั้นๆ ต่อให้แบรนด์ไม่จ้าง พวกเขาก็เป็นแฟนพันธุ์แท้ที่พร้อมช่วยโปรโมตสินค้าหรือบริการเป็นประจำอยู่แล้ว
ข้อดีของ Brand Advocacy ที่เห็นได้ชัดเจนคือไม่ต้องใช้เงินมากเมื่อเทียบกับ influencers แต่อาจใช้วิธีส่งสินค้าหรือบริการให้ใช้ รวมถึงอาจเชิญมาร่วมงานอีเวนท์ ออกทริป ทำกิจกรรม แจกรางวัล ร่วมกับแบรนด์สินค้า เหล่านี้จะช่วยสร้างคอมมูนิตี้และ Loyalty ให้กับผู้ที่กำลังติดตาม Brand Advocacy บนแพลตฟอร์ม Social media ได้อย่างดี
ส่วนใหญ่แม้ว่า Brand Advocacy จะมีจำนวนผู้ติดตามน้อยกว่า Influencer แต่พวกเขามีจุดแข็งคือความจริงใจในการสื่อสารข้อมูลไปสู่กลุ่มคนที่ชอบสินค้าหรือบริการแบบเดียวกัน ทำให้ข้อความที่ส่งออกไปมีคุณภาพ ซึ่งมีผลสำรวจยืนยันว่าผู้บริโภคจะเชื่อข้อมูลของกลุ่ม Brand Advocacy มากกว่า Influencer
สำหรับกลยุทธ์ที่มาแรงตอนนี้คือหลายแบรนด์สินค้าเลือกใช้จ่ายเงินกับ Brand Advocacy หลายๆคน มากกว่าจะทุ่มเงินไปที่ Influencer คนเดียว หรือ อีกวิธีคือการปั้น Brand Advocacy ขึ้นมาเองซะเลย
advocate = สนับสนุน
Consideration : เมื่อเกิดการรับรู้สินค้าแล้วจึงนำสินค้ามาพิจารณาเปรียบเทียบกับตัวเลือกที่อยู่ในมือ หรือพิจารณาความเหมาะสมทางด้านสิ่งที่ได้รับ + สิ่งที่จ่าย
Purchase : ขั้นตอนการซื้อสินค้า โดยอาจจะมีการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงตัวเลือก ณ จุดขาย หากพบความยุ่งยากในการซื้อ หรือ ข้อเสนอที่ดีกว่า ณ จุดขาย เช่น โปรโมชั่น สินค้าไม่มีสต็อก หรือเจอสินค้าใหม่ที่ดีกว่า
Purchase : ช่วงเวลาการซื้อที่สามารถทำได้หลากหลายช่องทางมากขึ้นเช่น e-commerce, M-Commerce และการจ่ายเงินที่เปลี่ยนแปลงไปเช่น Cashless payment, Mobile Payment, Virtual Currency หรือแม้กระทั่งสิ่งใหม่มาแรงอย่าง Bitcoin
Loyalty Building : สร้างการซื้อซ้ำ ด้วย Loyalty Campaign ต่างๆ เช่น Club Card, Loyalty Card หรือ การทำ Direct Marketing เช่นการขอฐานข้อมูลเพื่อส่งเอกสาร โบรชัวร์ไปที่ที่อยู่ที่ให้ไว้ หรือโทรศัพท์ไปหาเพื่อนำเสนอสินค้าใหม่ๆ
Engagement คือการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า หรือกลุ่มเป้าหมาย อาจเป็นการสร้างเรื่องราว หรือบทความที่ดี และมีประโยชน์ให้กับกลุ่มลูกค้า เพื่อทำให้เกิดการติดตาม กดไลค์ กดแชร์ เพื่อทำให้กลุ่มลูกค้านั้นรู้สึกผูกพันกับแบรนด์ของคุณ
Impression ความประทับใจที่มีต่อสื่อทางการตลาด โดยแสดงผลเป็นจำนวนครั้งที่มีการแสดงผลขึ้นมา โดยที่ไม่คำนึงการปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มลูกค้าหรือไม่ สามารถพบเห็นได้บ่อยๆ จากการแชร์ หรือการแท็ก
Conversion คือการตอบสนองของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อสื่อทางการตลาด ไม่ว่าจะเป็น การตอบรับโดยการกล่าวถึง การเข้าร่วม การสมัครสมาชิก การสั่งซื้อ หรือกดปุ่มรับข้อมูลข่าวสาร ก็ได้ทั้งนั้น
Viral หรือ Viral Marketing เรียกแบบไทยๆ ก็คือการทำการตลาดแบบไวรัส โดยอาศัยหลักการเสนอความแปลกใหม่ ความแตกต่างที่โดนใจ ให้แก่กลุ่มลูกค้า เพื่อให้เกิดการส่งต่อที่รวดเร็ว ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่างๆ
Content Marketing หรือก็คือการทำการตลาดโดยใช้เนื้อหา หรือบทความ ที่ดี มีประโยชน์ต่อกลุ่มลูกค้า บางครั้งการนำเสนอเนื้อหาก็ไม่ได้ทำขึ้นเพื่อขายสินค้าเพียงอย่างเดียว แต่อาจจะเป็นการสร้างเนื้อหา เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกิจการของตนเอง หรือการเขียนบทความที่กำลังเป็นกระแส เป็นที่นิยม เพื่อตอบสนองความต้องการให้แก่กลุ่มลูกค้า ที่อาจจะได้ผลดีกว่าการโฆษณาทางตรงด้วยซ้ำ
Keyword หรือคำสำคัญในการค้นหาผ่านกูเกิล และเป็นคำที่คุณสามารถกำหนดขึ้นมาได้ เพื่อให้บทความ หรือเว็บไซต์ของคุณถูกนั้นถูกค้นพบได้ง่าย
SEO (Search engine optimization) คือการทำให้เว็บไซต์ของคุณ ติดอับดับต้นๆ ของการค้นหาผ่าน เสิร์ชเอ็นจิ้น ด้วยคีย์เวิร์ด ที่คุณได้ใส่ลงไปในเว็บไซต์ หรือบทความของคุณ
SEM (Search Engine Marketing) คือการทำการตลาดผ่านเครื่องมือค้นหาบนอินเทอร์เน็ต
Google Adword เครื่องมือสำหรับการทำโฆษณาบนกูเกิล ให้เว็บไซต์ของคุณอยู่ด้านบนสุดของการค้นหาบนกูเกิล โดยค่าบริการจะคิดก็ต่อเมื่อมีคนคลิกเข้าชมเว็บไซต์ของคุณเท่านั้น
Google Analytic เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือของกูเกิล ที่ใช้สำหรับการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ภายในเว็บไซต์ของคุณ โดยสามารถดูว่ามีคนเข้าชมเว็บไซต์ของคุณเป็นจำนวนเท่าไหร่ มาจากช่องทางไหนบ้าง ระยะเวลาที่อยู่บนเว็บไซต์ของคุณนานเท่าไหร่ ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาธุรกิจของคุณเป็นอย่างมาก
Google Adsense เป็นเครื่องสำหรับกระจายสื่อโฆษณาของกูเกิล ไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสสำหรับการสร้างรายได้ โดยการนำโฆษณาจากกูเกิล มาใส่ไว้ในเว็บของคุณ เมื่อมีคนคลิกที่โฆษณาที่คุณนำมาไวในเว็บ คุณก็จะได้รับเงินในส่วนนั้น
Immersive Experience คือการสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้กับกลุ่มลูกค้าเพื่อให้เกิดความสนใจ และจินตนาการต่อยอดออกไปอย่างไม่มีขีดจำกัด ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความตื่นเต้นโดยการใช้สิ่งเร้าต่อระบบประสาทสัมผัสทั้งหกของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และความรู้สึก ให้แก่กลุ่มลูกค้า
ROI (Return on Investmen) คือวิธีการคำนวณค่าตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งให้ค่าการประเมินตรวจสอบที่มีความเที่ยงตรง และทรงประสิทธิภาพมาก โดยสามารถทำได้หลายวิธีการ
SoLoMo (Social Location Mobile) เป็นกลยุทธ์หนึ่งของการตลาดที่วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภคโดยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ จากการใช้โซเชียลมีเดีย เช็กอินตามสถานที่ต่างๆ ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
Second Screen คือแนวคิดการใช้ประสบการณ์จากจอที่สอง หรือก็คือการใช้แอพพริเคชั่นในการสร้างความรู้สึกใหม่ในการดูโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ เพื่อการดึงความสนใจของกลุ่มลูกค้าให้กลับมาอยู่ในรายการที่รับชมอยู่ แทนการทำกิจกรรมเสริมอื่นๆ
Earned Media คือการกล่าวถึงสินค้า แบรนด์ หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของคุณ บนสื่อโซเชียลมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นไลน์ ทวิสเตอร์ เฟสบุ๊ค การตอบข้อความบน กระทู้ บทความ หรือสื่อต่างๆ ที่คุณได้ลงไป
Value Proposition คือคุณค่าที่นำเสนอต่อลูกค้า ซึ่งทางการตลาดหมายถึงคุณค่าของสินค้า และบริการที่เราได้ขายให้กับลูกค้า
Contextual Targeting คือการทำโฆษณาในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือก็คือหากคุณขายตุ๊กตา กูเกิลจะทำให้โฆษณาของคุณ ไปอยู่บนเว็บที่ขายตุ๊กตาเหมือนกัน
Big Data คือข้อมูลทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในบริษัทของคุณ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่มีแหล่งที่มาจากบริษัท หรือข้อมูลที่มาจากภายนอกอย่างโซเชียลมีเดีย โดยจะเรียกข้อมูลเหล่านี้ว่าข้อมูลดิบ
Ideation คือแนวความคิด ความคิด ที่สามารถปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ได้
Social Commerce คือเครือข่ายสังคมค้าขายออนไลน์ เป็นส่วนหนึ่งของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบอีคอมเมิร์ช โดยวิธีการคือการใช้โซเชียลมีเดีย เข้ามายกระดับการทำธุรกิจค้าขายบนโลกออนไลน์ ให้ดีกว่าเดิม ให้สะดวกกว่าเดิม
KPI (Key Performance Indicator) คือดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน โดยจะแสดงรายละเอียดของงานที่สำเร็จ หรือไม่สำเร็จออกมา โดย KPI เป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
Native Advertising คือการทำโฆษณา แบบไม่ให้ผู้เข้าชมรู้สึกตัวว่านี้คือการโฆษณา ไม่ได้ตั้งใจขายของมากเกินไป เมื่อดูจบ หรืออ่านจบถึงจะรู้สึกว่านี้คือโฆษณา
Advertainment การทำโฆษณาโดยแฝงไปกับความบันเทิง ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันและกัน ของธุรกิจบันเทิง กับโฆษณา ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก
Synergy คือการทำงานร่วมกันของกลุ่ม องค์กร หรือธุรกิจ ที่จะสร้างผลประโยชน์ให้แก่กันมากกว่าการทำงานแยกกัน
Growth Hacking คือการหาเทคนิคใหม่ๆ มาทำให้ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งอยู่ในรูปแบบของการคิดวิเคราะห์ หาวิธีการที่สร้างสรรค์ แปลกใหม่ เพื่อทำให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายขึ้น
Showrooming คือพฤติกรรมการเลือกชมสินค้าหน้าร้าน แต่จะไปซื้อผ่านช่องทางออนไลน์
Infographic (Information Graphic) คือภาพกราฟฟิกที่บ่งบอกถึงข้อมูล อาจจะเป็นสถิติ เกร็ดความรู้ หรือเรียกได้ว่าคือข้อมูลอย่างย่อเพื่อทำให้เกิดความเข้าใจที่ง่าย เพียงแค่กวาดตามอง
ศัพท์เทคนิคการตลาดโลกโซเชียล – Facebook http://lertad.com/a2z/social-media-marketing-terms-part-1-facebook/
คำศัพท์ Marketing & Sales
www.ctxasia.com/th/vocabulary-marketing-sales , www.am2bmarketing.co.th